การเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาด้วยวิธีดิจิทัล

หลักการและเหตุผล
ด้วยมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้กาหนดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยและกาหนดให้มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 1 ปีการศึกษา และในส่วนงานระดับคณะก็ได้มีการดาเนินงานการเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาประจาคณะและกาหนดให้มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 1 ปีการศึกษาเช่นเดียวกัน
การดาเนินงานการเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี รูปแบบเดิมได้ดาเนินงานโดยให้นักศึกษาเข้าคูหาและกากบาทเลือกหมายเลข เช่นเดียวกับรูปแบบการใช้สิทธิการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรระดับประเทศ แต่ด้วยเกิดปัจจัยพิเศษ 2 ประการ คือ 1) การเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัส COVID-19และ 2) จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีมีจานวน 2,000 – 3,000 คน ซึ่งอยู่ในเกณฑ์คณะที่มีจานวนนักศึกษามากดังนั้น ภารกิจด้านพัฒนานักศึกษาซึ่งเป็นส่วนงานหลักในการดาเนินงาน จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้สิทธิเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาคณะฯจากรูปแบบเดิม ให้เป็นรูปแบบใหม่ด้วยวิธิดิจิทัล ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินงานยังคงได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องเป็นธรรม แต่ช่วยลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดการใช้งบประมาณ และลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
-
เพื่อเป็นการพัฒนาระบบงานการเลือกตั้งนายสโมสรนักศึกษาให้มีความเหมาะสมกับยุคสมัยปัจจุบัน
-
เพื่อลดขั้นตอนการดาเนินงานทั้งคณะทางานและนักศึกษาผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ลดความเสี่ยงภัยด้านสุขภาพแก่บุคลกรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และลดการใช้งบประมาณและทรัพยากรขององค์กร
กระบวนงานหรือขั้นตอนการดําเนินงาน
กิจกรรม |
การดำเนินงาน | ระยะเวลา |
การเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาKKBSด้วยวิธีดิจิทัล | 1. ศึกษาการใช้โปรแกรม Qualtrics | 3 – 13 ม.ค. 2566 |
2. การจัดเตรียมฐานข้อมูลนักศึกษา ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งด้วยวิธี ดิจิทัล | 17 – 20 ม.ค. 2566 | |
3. การทดลองใช้งานระบบใหม่ ด้ว ย โ ป ร แ ก ร ม Qualtrics แ ล ะ ปรับปรุงแก้ไข | 17 – 20 ม.ค. 2566 | |
4. การออกแบบจัดทาบัตรเลือกตั้ง รูปแบบดิจิทัล | 1 – 6 ก.พ. 2566 | |
5. การส่งอีเมลบัตรเลือกตั้งรูปแบบ ดิจิทัลให้แก่นักศึกษา | 7 ก.พ. 2566 | |
6. การสรุปผลออกเสียงการเลือกตั้ง นายกสโมสรนักศึกษา | 7 ก.พ. 2566 | |
7. การประเมินผล | 7 ก.พ. 2566 |
การนําไปใช้ประโยชน์
สามารถนาวิธีการนี้ไปประยุกต์ใช้กับภารกิจอื่นๆที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกันได้
ความต่อเนื่อง
สามารถนาวิธีการนี้ไปใช้ในการดาเนินงานเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษาในคราวต่อไปได้
บทเรียนที่ได้รับ
การศึกษาเรียนรู้โปรแกรมต่างๆให้ทันตามยุคสมัย สามารถช่วยปรับเปลี่ยนรูปแบบการดาเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพได้ดียิ่งขึ้น เป็นการช่วยลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการมีความพึงพอใจสูงขึ้น และยังช่วยลดการใช้งบประมาณขององค์กร
ปัจจัยความสําเร็จ
- ด้านทรัพยากรบุคคล : ผู้บริหารและบุคคลประจาภารกิจด้านพัฒนานักศึกษา ต้องมีความรู้ความสามารถ ในการศึกษาเรียนรู้โปรแกรมต่างๆให้ทันยุคสมัย และมีความสามารถในการเลือกใช้งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับภารกิจที่ต้องปฏิบัติงานและรับผิดชอบ
- ด้านเครื่องมือและเทคโนโลยี : ผู้บริหารองค์กรควรให้การสนับสนุนด้านเครื่องมือและเทคโนโลยี เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายสื่อสารดิจิทัล ระบบฐานข้อมูลนักศึกษา และโปรแกรมต่างๆ ที่มีลิขสิทธิ์ เป็นต้น
ผู้รับผิดชอบ




ความสอดคล้อง
- การบริหารจัดการคณะด้วยเทคโนโลยี
- การพัฒนานักศึกษา
รูปแบบขององค์ความรู้
Lesson learned (การถอดบทเรียน/แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น)
กลุ่มเป้าหมาย
- ผู้เรียน
- นักศึกษาระดับปริญญาตรี
ระยะเวลาดำเนินงานและสถานที่
คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น / 3 มกราคม - 7 กุมภาพันธ์ 2566