ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพผลงานทางวิชาการ ในการขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น ของสายสนับสนุน

121

หลักการและเหตุผล

empty

วัตถุประสงค์

empty

กระบวนงานหรือขั้นตอนการดําเนินงาน

empty

การนําไปใช้ประโยชน์

empty

ความต่อเนื่อง

empty

บทเรียนที่ได้รับ

ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพผลงานทางวิชาการ ในการขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น ของสายสนับสนุน

1. คู่มือการปฏิบัติงาน

– การจัดหน้าและรูปแบบ

– ความน่าสนใจ น่าติดตาม

– การตอบวัตถุประสงค์และประโยชน์ในการทำคู่มือ

– การสอดแทรกประสบการณ์และเทคนิค

– การลำดับเนื้อหา

– การอ้างอิงถูกต้อง

– เหมาะสมกับองค์การและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม

– ระบบตัวเลขและการลำดับข้อ

– เนื้อหากระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย

– การเขียน Work Flow หรือ Flowchart

– การตั้งชื่อคู่มือปฏิบัติงาน

– การวิเคราะห์ปัญหา/ อุปสรรคในการทำงาน

– การใช้ตัวอย่างประกอบ

– ความทันสมัยของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ

– การนำไปใช้งาน (ทำแล้วมีคนใช้งาน หรือทำแล้วไม่สามารถใช้ได้)

– การใช้ภาษา เช่น ไม่เป็นภาษาพูด คำศัพท์ที่สื่อความหมาย

– การพิมพ์เล่ม และการแสดงข้อมูล

– การพัฒนางาน กรณีเขียนงานเดิม

2. ผลงานวิเคราะห์

– ความสามารถในการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง

– วิเคราะห์เรื่องที่ยังไม่มีคนอื่นทำ หรือวิเคราะห์เพื่อหักล้างผู้อื่น

– ความเหมาะสมของวิธีการ

– วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

– การผสมผสานระหว่างการวิเคราะห์เชิงปริมาณและคุณภาพ

– การเปรียบเทียบผลกับงานอื่น

– แสดงเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผลการวิเคราะห์

– เนื้อหาดี นำเสนอชัดเจน เข้าใจง่าย สอดคล้องเชื่อมโยง

– น่าเชื่อถือ มีเหตุผล มีหลักฐาน

– ทันสมัย

– ถูกต้องตามรูปแบบ

– การใช้คำ การสะกดคำ

3. ผลงานวิจัย

– ความเป็นมาไม่ชัดเจน

– วัตถุประสงค์ไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้องกับการดำเนินการวิจัยและผลการศึกษา

– ขอบเขตการศึกษาไม่ชัดเจน

– การทบทวนวรรณกรรม ไม่ครบถ้วน

– ระเบียบวิธีวิจัยไม่ตอบวัตถุประสงค์

– การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

– วิเคราะห์ข้อมูลไม่ถูกต้อง ใช้สถิติหรือเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลผิด

– การสรุปผลไม่ตอบวัตถุประสงค์

– การอภิปรายผลไม่นำไปสู่การให้ข้อเสนอแนะ

– การให้ข้อเสนอแนะไม่เป็นรูปธรรม ไม่สอดคล้องกับผลการศึกษา ไม่สามารถนำไปสู่การพัฒนาได้

– การอ้างอิงและเอกสารอ้างอิงไม่สอดคล้องและครบถ้วน รวมทั้งไม่เป็นหลักการเขียนเอกสารอ้างอิง

– รูปเล่มและการนำเสนอไม่น่าสนใจ ไม่เป็นระบบ

 

จากการอบรม “การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานเพื่อเลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น”

วิทยากรโดย คุณปภาณภณ ปภังกรภูรินท์

ปัจจัยความสําเร็จ

empty

ผู้รับผิดชอบ

นายธีรรักษ์ ภารการ

ความสอดคล้อง

  • การบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล

รูปแบบขององค์ความรู้

General Knowledge (ความรู้ทั่วไป)

กลุ่มเป้าหมาย

  • บุคลากรสายสนับสนุนของคณะฯ

ระยะเวลาดำเนินงานและสถานที่

empty

ให้คะแนน KM นี้

คะแนนโดยเฉลี่ย 4.5 / 5. จำนวนที่โหวต : 4

No votes so far! Be the first to rate this post.

ป้ายกำกับ